React : การสร้าง Element โดย React.createElement
Posted onวันนี้ผมจะมาแนะนำอีกหนึ่งคำสั่งใน react เพื่อหากได้มีโอกาศใช้งาน คำสั่งนี้คือ React.createElement เอาไว้เพื่อทำการสร้าง element แบบ dynamic ตามคำสั่งโค้ดที่เราเขียน
วันนี้ผมจะมาแนะนำอีกหนึ่งคำสั่งใน react เพื่อหากได้มีโอกาศใช้งาน คำสั่งนี้คือ React.createElement เอาไว้เพื่อทำการสร้าง element แบบ dynamic ตามคำสั่งโค้ดที่เราเขียน
หลังจากที่สร้าง Component เบื้องต้นแล้วที่นี้ก็มาเริ่มใส่ css ให้กับ form ต่างๆหรือ html tag ที่เราต้องการ render ออกมา โดยใน css นั้นจะมีการใช้ attribute class เพื่อกำหนดรูปแบบต่างๆให้กับ html ไม่ว่าจะเป็นเรื่องสี font ขนาด เป็นต้น ซึ่งจะทำให้เจ้า JSX ที่เก็บข้อมูล html นั้นเกิดปัญหาได้เพราะคำว่า class ดันไปต้นกับคำสงวนใน javascript นั้นเอง เพราะฉะนั้นจะต้องหาคำมาแทน จึงใช้คำว่า className แทนคำว่า class และ คำว่า for ให้เปลี่ยนไปใช้คำว่า htmlFor แทน ซึ่งใน React ปัจจุบันนับตั้งแต่ React 16 ขึ้นไปในสามารถใช้คำว่า class ตรงได้เลย แต่ก็จะมีบ้างกรณีที่ไม่สามารถใช้ได้ เพราะฉะนั้น ณ เวลานี้ควรใช้ […]
จากตัวอย่างในบทความก่อน เริ่มต้น Hello World ใน React.js คราวนี้จะลองเขียนแยกออกมาเป็น component เบื้องต้นกัน เริ่มแรกจากโค้ดเก่าให้ทำการแก้โค้ดใน script tag โดยสร้าง Class ที่มีชื่อว่า App ทำการ extends มาจาก React.Component โดยมี method render ที่ return ข้อมูลออกมาเป็นข้อความ tag h1 ซึ่งมีโค้ดดังนี้ เมื่อทำการแก้โค้ดเสร็จ ลองเปิดหน้าเพจดูกับพบว่าเป็นหน้าเปล่าๆ เพราะยังไม่ได้ทำการ render ผ่าน visual DOM นั้นเอง ซึ่งต้องใช้คำสั่ง ReactDOM.render โดยมีโค้ดในส่วนของ script tag ดังนี้ครับ สังเกตว่ามีการประกาศตัวแปร mount ขึ้นมาให้เก็บค่า DOM ที่เราต้องการ render ข้อมูล แล้วใช้คำสั่ง ReactDOM.render ที่ยังคง concept เดิมคือ […]
ต่อจากบทความก่อน React คืออะไร ครั้งนี้จากลองในเขียน React.js กันแบบเริ่มต้นง่ายๆด้วยตัวอย่าง Classic อย่างแสดงข้อความ Hello World กัน โดยตัวอย่างนี้จะใช้รูปแบบ include ไฟล์จาก cdn เข้ามาในไฟล์ html ที่สร้างขึ้นแบบง่ายๆก่อน
React หรือ React.js ก็แล้วแต่ใครจะเรียก คือ javascript library ที่ถูกพัฒนาโดย facebook ซึ่งออกแบบมาเพื่อสร้าง UI ให้กับ web application ซึ่งจะทำงานส่วนใหญ่เกี่ยวกับ view layer หัวใจหลักของ React นั้นคือ component การที่สร้าง component ขึ้นมาสามารถทำให้ reuse การใช้งานได้ และเมื่อประกอบกันหลาย component กลายเป็น UI ของ Web Application นั้นเอง
ใน version นี้มีการเพิ่มข้อมูลการแสดงผลใหม่คือ เงินปันผลสรุปแต่ละปีของหุ้นแต่ละตัว แต่ต้องขอบอกก่อนว่าจะเป็นข้อมูลประวัติการจ่ายปันผลที่ทาง app นี้มีเท่านั้น หากใย้อนกลับไปหลายๆปี ก็จะไม่มีเพราะไม่ได้ข้อมูลย้อนหลังในอดีต แต่เท่าที่ app นี้มีก็ย้อนหลังไปหลายปีเหมือนกัน หวังว่าผู้ใช้งานคงจะเข้าใจและใช้งานบนพื้นฐานที่ว่า จะมีข้อมูลย้อนหลังเก่าๆ ไม่ครบ ซึ่งข้อมูลปันผลรายปีนั้นจะอยู่ในหน้ารายละเอียดหุ้น
update ใน version 2.8.1
version 2.8.0 มีการปรับในส่วนของ RSI เปลี่ยนชื่อเป็น Momentum เพื่อที่จะปรับปรุงใช้ข้อมูลจากส่วนอื่นเข้ามาช่วยในการหา momentum ว่าเป็นแรงขายหรือแรงซื้อ และคัดกรองหุ้นที่ผลประกอบการไม่ค่อยดีออกต่อไป จึงขอเปลี่ยนชื่อจาก RSI เป็น Momentum
update version 2.7.1 เพิ่มการแสดงข้อมูลรายชื่อผู้บริหารของแต่ละบริษัท ปรับปรุงเพื่อลดข้อผิดพลาดของ app สามารถติดตั้งได้จาก หากท้านในมีข้อแนะนำหรืออย่างให้พัฒนาอะไรสามารถเข้ามาให้คำแนะนำได้ที่ https://www.facebook.com/thaicoding/
การปรับเปลี่ยนใน version 2.7.0 1.มีการปรับการแสดงข้อมูลหน้า inside trade ให้ระเอียดมากขึ้น โดยแสดง ชื่อผู้ทำรายการ วันที่ และจำนวนหุ้น ราคาหุ้นที่ทำรายการ จาก version ก่อนหน้านี้แสดงแค่ ชื่อหุ้นกับวันที่ทำรายการเท่านั้น นอกจากการปรับการแสดงข้อมูลแล้วสามารถกดเข้าไปดูข้อมูล inside trade แบบระเอียดของหุ้นตัวนั้นได้เลยจากหน้ารายการนี้ 2.การปรับหน้าแสดงข้อมูลหุ้น XD มีการเพิ่มการแสดงข้อมูลวันที่จ่ายและ จำนวนเงินที่จ่ายปันผลต่อหุ้นเข้ามาอีกด้วย สามารถดูตัวอย่างการปรับเปลี่ยนตามภาพด้านล่างเลยครับ แล้วอย่าลืม update version กันนะครับเพื่อการทำงานของ app ที่เต็มประสิทธิภาพ สามารถติดตั้งได้จาก หากท้านในมีข้อแนะนำหรืออย่างให้พัฒนาอะไรสามารถเข้ามาให้คำแนะนำได้ที่ https://www.facebook.com/thaicoding/